泰语专业

发布者:东语学院-谢丹平发布时间:2023-06-08浏览次数:227


【培养目标】

中国与包括泰国在内的东南亚国家一直保持良好合作关系,随着改革开放政策的不断深入及中国与东盟国家政治经济文化交流合作的日益增进,特别是在一带一路国家发展战略大背景下,中泰两国的经济文化交流必将得到进一步发展。在此背景下社会必然对精通泰语、能熟练中泰互译,了解泰国风俗文化的复合型小语种人才的需求不断增长。学生通过泰语专业的系统学习,可以提升未来就业、出国、考研方面的竞争力。

本专业培养掌握扎实的泰语基础知识,具备较强的泰语应用能力,较好地掌握第二外语(英语)基本技能,能在政府、企事业单位从事管理、翻译、经贸实务及教学等工作的德、智、体、美、劳全面发展的应用型人才。


【课程设置】

基础泰语、高级泰语、泰语视听说、泰语会话、泰语阅读、泰汉翻译理论与实践、泰语写作、泰语口译、泰国概况、泰语文学选读、泰国文学史、泰语语法、泰语报刊信息选读、商务泰语、泰语演讲、泰语国际贸易实务、旅游泰语、中泰习俗文化比较、泰语实用电子商务、综合英语。


【师资力量】

泰语专业目前有专业教师6人,其中教授2人,博士1人,外教1人,助教2人。专业学科带头人林秀梅教授是来自yL23411永利官网登录的教授,教学经验丰富,教学成果显著。三位中国籍教师皆具备丰富的海外留学经历,精通泰国的语言文化。专业教师队伍的年龄、学历和职称结构合理,能满足专业教学需求。东语学院具备开设泰语专业所必须的各种软硬件设施。


【办学特色】

yL23411永利官网登录泰语专业成立于2018年,全面实行“3+1”人才培养模式(即三年在国内学习,1年在泰国学习),也可选择中泰“2+2”联合培养项目,获取双学位。本专业与泰国孔敬大学、泰国皇太后大学和泰国清莱皇家大学签订了联合培养和师生交流协议。2019级开始在“3+1”人才培养模式上推行“泰英双语”的培养模式,增设英语口语类课程。根据泰语语言特点,专业学习中会注重泰语“听”和“说”的训练,在各阶段的语言教学过程中开展丰富多样的实践教学活动,培养学生随时随地讲外语的习惯,注重学生实际运用能力的提升。学生可参加泰语水平考试(CUTFL)


【就业与升学方向】

学生可在教育部门、涉外公司、国家机关、旅游部门等就业,也可选择考研与赴泰国留学等。


สาขาวิชาภาษาไทย

เป้าหมายของหลักสูตร

เนื่องจากประเทศจีนและประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศอาเซียน มีความร่วมมืออันดีต่อกันมายาวนาน ตามนโยบายเปิดประเทศที่มีการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง  อีกทั้งการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศจีนและประเทศอาเซียนที่นับวันยิ่งมากขึ้น โดยเฉพาะภายใต้ยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง”การแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีนจึงยิ่งต้องพัฒนาให้ก้าวไปข้างหน้าอีกขั้นหนึ่ง ภายใต้กรอบนโยบายที่สำคัญนี้ยิ่งต้องการบุคคลากรที่มีความสามารถทางด้านทักษะภาษาไทยที่เข้าใจภาษาไทย สามารถแปลภาษาไทย-จีนได้อย่างคล่องแคล่ว เเละเข้าใจวัฒนธรรมความเป็นไทย หลังจากที่นักศึกษาได้ผ่านการเรียนการสอนในหลักสูตรของสาขาวิชาภาษาไทย จะทำให้นักศึกษามีศักยภาพในการแข่งขันในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการประกอบอาชีพการเรียนต่อต่างประเทศ และการสอบ   เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย เน้นผลิตบัณฑิตให้มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยบูรณาการเนื้อหาและการคิดวิเคราะห์ด้านภาษา วรรณกรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่และ               วัฒนธรรมไทย ให้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพและพัฒนาองค์ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยได้ด้วยตนเองอย่างมีคุณธรรม จริยธรรมตามแบบแผนที่ดีงามของสังคม


โครงสร้างหลักสูตร(รายวิชาที่เปิดสอน)

ภาษาไทยพื้นฐาน,ภาษาไทยระดับสูง,การฟังและการพูดภาษาไทย,การสนทนาภาษาไทย,การอ่านภาษาไทย,ทฤษฎีและภาคปฏิบัติการแปลภาษาไทย–จีน,การเขียนภาษาไทย,ล่ามภาษาไทย,ภาพรวมของประเทศไทย, การอ่านวรรณกรรมไทย, ประวัติวรรณกรรมไทย, หลักไวยากรณ์ภาษาไทย,การอ่านบทความจากหนังสือพิมพ์และวารสารไทย, ภาษาไทยเพื่อการค้า,การพูดสุนทรพจน์ภาษาไทย, ภาษาไทยเพื่อการค้าระหว่างประเทศ, ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว,การเปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-จีน, ภาษาไทยเพื่อธุรกิจอีคอมเมิร์ซ, ภาษาอังกฤษพื้นฐาน


คณาจารย์

ปัจจุบันสาขาวิชาภาษาไทยมีคณาจารย์ทั้งหมด ๖ ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์  ๒ ท่าน ด็อกเตอร์ ๑ ท่าน  อาจารย์ชาวต่างชาติ ๑ ท่าน  และอาจารย์ผู้ช่วยสอน ๒ ท่าน โดยทางสาขาวิชาภาษาไทยมีท่านศาสตราจารย์ Lin Xiumei เป็นที่ปรึกษาของหลักสูตร ซึ่งท่านมีประสบการณ์ทางด้านการสอนมามากมาย ประสิทธิผลของการสอนของท่านเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกัน นอกจากนี้อาจารย์ชาวจีนของเราทั้งหมดยังได้ไปศึกษาต่อที่ประเทศไทย สามารถสื่อสารภาษาไทย และมีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศไทยเป็นอย่างดีอาจารย์ของสาขาวิชา    ทุกท่านมีความเหาะสมทั้งด้านวัยวุฒิและคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ สามารถตอบสนองความต้องการในด้านการเรียนการสอนของทางสาขา นอกจากนี้ทางสำนักวิชาภาษาและวัฒนธรรมตะวันออกยังได้จัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาไว้อย่างครบครัน


จุดเด่นของสาขา

สาขาวิชาภาษาไทยของ Guangdong University of Foreign Studies South China Business College จัดตั้งขึ้นในปี พ.. ๒๕๖๑ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ ๓ + ๑ (เรียนที่ประเทศจีน ปีเรียนที่ประเทศไทย๑ ปี) หรือสามารถเลือกรูปแบบการเรียนการสอนแบบ ๒+(เรียนที่ประเทศจีน ๒ ปี เรียนที่ประเทศไทย ๒ ปี)  ปัจจุบันได้ลงนามในMOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ในปี พ..๒๕๖๒ ได้เพิ่มความสำคัญกับวิชาภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น และจัดให้มีวิชาการพูดภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษาเพิ่มขึ้น ตามหลักสูตรของสาขาวิชาภาษาไทยจะเน้นสอนให้นักศึกษามีทักษะความรู้ความชำนาญในการใช้ภาษาไทย โดยผ่านการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมต่างๆทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะทักษะการฟัง-พูด ปลูกฝังให้นักศึกษาพูดภาษาต่างประเทศทุกที่ทุกเวลาเมื่อมีโอกาส มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาได้ในสถานการณ์จริงอยู่สม่ำเสมอ และให้นักศึกษาเข้าร่วมการทดสอบสมรรถภาพการใช้ภาษาไทย(CUTFL)ด้วย

แนวทางในการประกอบวิชาชีพ

ในอนาคตนักศึกษามีแนวโน้มในการหางานได้มากขึ้น เช่น ในหน่วยงานทางด้านการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น หรือทางด้านการศึกษาและการทำงานต่อในต่างประเทศ การสอบเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท เป็นต้น


(更新于2023年6月)